บทที่ 5
เงินเฟ้อ เงินฝืด และวัฎจักรเศรษฐกิจ

แบบทดสอบตนเองหลังเรียน

วัตถุประสงค์         
เพื่อทดสอบความเข้าใจของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง
                               "เงินเฟ้อ เงินฝืด และวัฎจักรเศรษฐกิจ "


คำสั่ง        จงคลิกช่องว่างที่นักศึกษาคิดว่าถูกที่ต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. เครื่องชี้ให้เห็นถึงการเกิดภาวะเงินเฟ้อ ได้แก่เครื่องชี้ประเภทใด
ดัชนีราคาผู้บริโภค
ดัชนีราคาผู้ผลิต
อัตราดอกเบี้ย
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

2. ภาวะเวินเฟ้อเกืดขึ้นเนื่องจากสาเหตุในข้อใด

ครังเรือนมีความมั่นใจ
ผู้ประกอบการมีความั่นใจ
อุปสงค์รวมมีมากเกินไป
รัฐบาลเก็บภาษีน้อยเกินไป

3. Demand-Pull Inflation เป็นภาวะเงินเฟ้อเกิดขึ้นเนื่องจากอะไร
อุปสงค์มีมากกว่าอุปทานในภาวะการจ้างงานไม่เต็มที่
อุปสงค์มีมากกว่าอุปทานในภาวะการจ้างงานเต็มที่
ราคาสินค้าสูงขึ้นเร็วกว่าอัตราค่าจ้าง
ความต้องการถือเงินสดไว้ในมือมีมากขึ้น

4. เมื่ออุปสงค์รวม (AD) มากกว่าอุปทานรวม (AS) จะเกิดปัญหาอะไรตามม
รายได้ที่แท้จริงลดลง
ระดับราคาสินค้าสูงขึ้น
เศรษฐกิจถดถอย
ภาวะเงินตึง

5. เมื่อระบบเศรษฐกิจประสบปัญหาอุปสงค์รวมน้อยเกินไปรัฐบาลควรดำเนินตามข้อใด
เพื่มรายจ่ายของรัฐบาล
ลดปริมาณเงิน
ลดรายจ่ายของรัฐบาล
ถูกข้อ 2 และข้อ 3

6. แนวทางหรือมาตราการของนโยบายการคลังในการแก้ปัญหาเงินฝืดข้อใดถูกต้องที่สุด
เพิ่มการใช้จ่ายรัฐบาล และเพิ่มภาษีอากร
ลดการใช้จ่ายรัฐบาล และเพิ่มภาษีอากร
เพิ่มการใช้จ่ายรัฐบาล และลดภาษีอากร
ลดการใช้จ่ายรัฐบาล และลดภาษีอากร

7. การแก้ไขภาวะเงินเฟ้ออาจทำได้อย่างไร
ใช้นโยบายขาดดุล
ลดปริมาณเงินและเก็บภาษีอากรเพิ่มขึ้น
เพิ่มการใช้จ่ายรัฐบาล
เพิ่มปริมาณเงินและลดภาษีอากร

8. ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดจากสาเหตุทางด้านอุปทาน (Cost-Push Inflation) มีสาเหตุจากอะไร
การเพิ่มการใช้จ่ายรัฐบาล
การเพิ่มขึ้นปริมาณเงิน
การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมัน
การเพิ่มขึ้นของการลงทุน


9. เมื่อเกิดปัญหาเงินเฟ้อจะมีผลกระทบต่อการออมและการลงทุนอย่างไร
การออมเพิ่มขึ้น แต่การลงทุนลดลง
การออมลดลง แต่การลงทุนเพิ่มขึ้น
ทั้งการออมและการลงทุนเพิ่มขึ้น
ทั้งการออมและการลงทุนลดลง

10. ระยะเวลาหรือช่วงของวัฎจักรธุรกิจ ประกอบด้วยช่วงตามลำดับดังนี้
รุ่งเรือง ถดถอย ตกต่ำ ฟื้นตัว
ถดถอย ฟื้นตัว รุ่งเรือง ตกต่ำ
ตกต่ำ ถดถอย ฟื้นตัว รุ่งเรือง
ฟื้นตัว รุ่งเรือง ตกต่ำ ถดถอย