บทที่ 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์มหภาค

แบบทดสอบตนเองหลังเรียน

วัตถุประสงค์         
เพื่อทดสอบความเข้าใจของนักศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง
                               "ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์มหภาค"


คำสั่ง        จงคลิกช่องว่างที่นักศึกษาคิดว่าถูกที่หน้าข้อความว่าถูก และ ผิด หน้าข้อความที่นักศึกษาเห็นว่าผิด

1. ในขณะที่เศรษฐศาสตร์มหภาคมุ่งศึกษาพฤติกรรมและปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจของระบบเศรษฐกิจโดยส่วนรวม แต่เศรษฐศาสตร์จุลภาคกลับมุ่งสู่ศึกษาพฤติกรรมและปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจย่อย
ถูก
ผิด

2. คำว่า ทุน (capital) ในแง่เศรษฐศาสตร์หมายถึงเงิน (momey) เท่านั้น

ถูก
ผิด

3. ต้นทุนค่าเสียโอกาสในทางเศรษฐศาสตร์ คือ ค่าเสียเวลาในการรอคอย
ถูก
ผิด

4. จุดประสงค์ของเศรษฐศาสตร์ก็คือ ชี้ให้เห็นถึงเป้าหมายที่มนุษย์ควรจะทำเกี่ยวกับการผลิตและการบริโภค
ถูก
ผิด

5. อดัม สมิธ เขียนหนังสือ The Wealth of Nation
ถูก
ผิด


คำสั่ง       ให้นักศึกษาอ่านคำถามต่อไปนี้ทีละข้อแล้วคลิกช่องว่างที่นักศึกษาคิดว่าถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 

1.เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาศึกษาว่าด้วย
การเลือกที่ดีที่สุด
การผลิตให้มากที่สุด
กำไรสูงสุด
สวัสดิการมากที่สุด

2.การขาดแคลน (Scarcity) เกิดขึ้นในสังคมเพราะ
ความต้องการมีมาก
ความต้องการมรน้อย
สินค้าและปริมาณมีจำนวนน้อยไม่เพียงพอ
ต้นทุนการผิตสูง
3. การศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics) เกี่ยวกับเรื่องต่อไปนี้
การกำหนดราคาสินค้า
รายได้ของเกษตกร
รายได้ของนักธุรกิจ
ภาวะเงินเฟ้อ
4. ข้อใดมิใช่ส่วนประกอบของปัจจัยการผลิต
ที่ดิน
เงินทุน
แรงาน
ผู้ประกอบการ
5. ข้อใดมิใช่เป็นเป้าหมายเศรษฐศาสตร์มหภาค
เพื่อให้มีการจ้างงาน
เพื่อวัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ความมั่งคงของรัฐบาล
6. เป้าหมายของข้อใดที่อาจมีความข้ดแย้งกับเป้าหมาบการเพิ่มขึ้นของการจ้างงาน
การเพิ่มขึ้นของผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
ความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ
ความมีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
ทุกข้อมีเป้าหมายสอดคล้องกันหมด
7.บุคคลใดที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาทางด้านเศรษฐศาสตร์มหภาค
อดัม สมิธ
คาร์ลมาร์ก
เดวิด ริคาโด
จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์
8. แนวความคิดของนักเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์ เสนอแนวทางให้รัฐบาลใช้นโยบายการคลังเข้าแทรกแซงปัจจัยในข้อใด เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
อุปทานรวม
ปริมาณเงินของประเทศ
อุปสงค์รวม
การคาดคะเนทางเศรษฐกิจของเอกชน
9. ความขัดแย้งระหว่างส่วนใหญ่กับส่วนย่อย (Fallacy of Composition) หมายถึง
สิ่งที่เป็นจริงเฉพาะส่วนย่อย จักต้องเป็นจริงในส่วนรวมด้วยเสมอ
สิ่งที่เป็นจริงในส่วนรวมทั้งหมด จักต้องเป็นจริงเฉพาะส่วนย่อยด้วยเสมอ
หากขนาดของข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ยิ่งมีมากเพียงใด ผลของการวิเคราะห์จะยิ่งเชื่อถือได้มากเพียงนั้น
หากขนาดของข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ยิ่งมีน้อยเพียงใด ผลของการวิเคราะห์จะยิ่งเชื่อถือได้มากเพียงนั้น

10. ข้อความใดต่อไปนั้เป็น เศรษฐศาสตร์นโยบาย (normative economics)
ระบบสังคมนิยมดีกว่าระบบทุนนิยม
การกระจายรายได้ประขาขาติในสิงคโปร์มีความทัดเทียมกันมากกว่าในประเทศไทย
นโยบายกองทุนหมู่บ้านละ 1 ล้านบาท เป็นนโยบายเศรษฐกิจที่ดั
ถูกทั้งข้อ (1) และ (3)